แบบฟอร์มประเมินตนเอง

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
แบบฟอร์มการประเมินตนเองในการดำเนินงานโรงเรียนปลอดบุหรี่ โดย เครือข่ายครูเพื่อโรงเรียนปลอดบุหรี่

สนับสนุนโดย มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

ตั้งแต่มีประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 19 ซึ่งออกตามความในพระราชบัญญัติคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ พ.ศ.2535 นั้น โดยในช่วงปี พ.ศ.2551 เป็นต้นมา เครือข่ายครูเพื่อโรงเรียนปลอดบุหรี่ สนับสนุนโดยมูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จึงได้ดำเนินโครงการโรงเรียนปลอดบุหรี่ในพื้นที่นำร่อง 5 จังหวัดได้แก่ เชียงใหม่ ขอนแก่น สงขลา ชลบุรี กรุงเทพฯ ในปี พ.ศ.2556-2558 ขยายผลการดำเนินงานไปยัง 8 จังหวัด ได้แก่ เชียงราย พิษณุโลก นครราชสีมา มหาสารคาม อุบลราชธานี นนทบุรี ระยอง สุราษฎร์ธานี ในปี 2559-2561 ได้ดำเนินงานเพิ่มในอีก 18 จังหวัด ได้แก่ นครนายก นครปฐม ราชบุรี กาญจนบุรี เพชรบุรี ชัยภูมิ เลย อำนาจเจริญ ศรีษะเกศ บุรีรัมย์ สกลนคร พังงา กระบี่ ตรัง ปัตตานี นราธิวาส แม่ฮ่องสอน เพชรบูรณ์ อุตรดิตถ์ จนได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 ที่มีการปรับปรุงกฎหมายให้ทันสมัยมากขึ้น โดยสนับสนุนให้โรงเรียนดำเนินมาตรการต่าง ๆ เพื่อให้เป็นเขตปลอดบุหรี่ตามพระราชบัญญัติข้างต้น

ด้วยเล็งเห็นความสำคัญในการติดตามผลการดำเนินงาน การเฟ้นหาบทเรียนและประสบการณ์ดี ๆ จากการดำเนินงาน ตลอดจนพัฒนาให้เกิดเป็นโรงเรียนปลอดบุหรี่ต้นแบบ เครือข่ายครู ฯ จึงจัดทำ “แบบฟอร์มการประเมินตนเองในการดำเนินงานโรงเรียนปลอดบุหรี่” เพื่อให้โรงเรียนได้ใช้เป็นแนวทางในการประเมินตนเองว่าการดำเนินงานอยู่ในระดับใด จะต้องดำเนินการเพิ่มเติมในด้านใด ในขณะเดียวกัน ข้อมูลที่ได้จากการประเมินตนเองของแต่ละโรงเรียนจะเป็นฐานข้อมูลสำคัญที่ช่วยให้เครือข่ายครู ฯ ให้การสนับสนุนและช่วยเหลือด้านต่าง ๆ ที่ตรงกับความต้องการและบริบทที่แตกต่างของแต่ละโรงเรียนมากยิ่งขึ้น

เครือข่ายครูเพื่อโรงเรียนปลอดบุหรี่ หวังเป็นอย่างยิ่งที่จะได้รับความร่วมมือจากโรงเรียนต่าง ๆ เป็นอย่างดี เพื่อร่วมกันสร้างสรรค์โรงเรียน ชุมชน และสังคมปลอดควันบุหรี่ต่อไป

เครือข่ายครูเพื่อโรงเรียนปลอดบุหรี่
พฤศจิกายน 2560

องค์ประกอบที่ 1 นโยบาย “โรงเรียนปลอดบุหรี่” ของโรงเรียน

ตัวบ่งชี้ ตัวชี้วัด เกณฑ์/ระดับการประเมิน (คะแนน) คะแนนที่ได้จากการประเมินตนเอง
1) มีนโยบายโรงเรียนเป็นเขตปลอดบุหรี่ทั้งหมด โดยจัดทำเป็นลายลักษณ์อักษร
นโยบายครอบคลุมประเด็นดังต่อไปนี้
  1. มีการตั้งคณะทำงาน “โรงเรียนปลอดบุหรี่”
  2. จัดสภาพแวดล้อมและบรรยากาศที่เอื้อต่อการไม่สูบบุหรี่
  3. เฝ้าระวังไม่ให้มีการสูบบุหรี่ในบริเวณโรงเรียน
  4. มีการสอดแทรกความรู้เกี่ยวกับบุหรี่ในการเรียนการสอนและกิจกรรมนอกหลักสูตร
  5. มีการส่งเสริมให้นักเรียนมีส่วนร่วม
  6. มีการช่วยนักเรียนให้เลิกสูบบุหรี่
  7. มีการดูแลช่วยเหลือนักเรียนกลุ่มเสี่ยง
  8. มีกิจกรรมร่วมกับชุมชน
- คะแนน
2) การถ่ายทอดนโยบายสู่การปฏิบัติ โดยการประกาศเป็นลายลักษณ์อักษร ที่ระบุการห้ามสูบบุหรี่ในทุกพื้นที่ของโรงเรียนและมีมาตรการลงโทษผู้ฝ่าฝืน
ครูและบุคลากรของโรงเรียนรับทราบนโยบายที่ประกาศ (สุ่มสัมภาษณ์หรือสอบถามครูและบุคลากร จำนวน 10 คน)
- คะแนน
นักเรียนรับทราบนโยบายที่ประกาศ (ถ้ามีการสุ่มสัมภาษณ์หรือสอบถามนักเรียนจำนวน 10 คน นักเรียนจะรับทราบเท่าไหร่)
- คะแนน
ผู้ปกครองรับทราบนโยบายที่ประกาศ (ถ้ามีการสุ่มสัมภาษณ์หรือสอบถามผู้ปกครอง จำนวน 10 คน ผู้ปกครองจะรับทราบเท่าไหร่)
- คะแนน
(คะแนนเต็ม 40 คะแนน) รวมคะแนนที่ได้ - คะแนน
สรุปผลการประเมินตามองค์ประกอบที่ 1
ผ่านเกณฑ์ประเมินขั้นดีมาก (36-40 คะแนน)
ผ่านเกณฑ์ประเมินขั้นดี (30-35 คะแนน)
ผ่านเกณฑ์ประเมินขั้นพื้นฐาน (25-29 คะแนน)
ควรพัฒนาต่อไป (0-24 คะแนน)
จากการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 1 โรงเรียนอยู่ในระดับ
-

องค์ประกอบที่ 2 การบริหารจัดการในโรงเรียน

ตัวบ่งชี้ ตัวชี้วัด เกณฑ์/ระดับการประเมิน (คะแนน) คะแนนที่ได้จากการประเมินตนเอง
2.1 การจัดองค์กร
1) มีการแต่งตั้งคณะกรรมการหรือคณะทำงาน “โรงเรียนปลอดบุหรี่”
มีคำสั่งโรงเรียนแต่งตั้งคณะกรรมการหรือคณะทำงาน “โรงเรียนปลอดบุหรี่”
- คะแนน
2) มี “นักเรียนอาสาสมัครเพื่อโรงเรียนปลอดบุหรี่”
มี “นักเรียนอาสาสมัครเพื่อโรงเรียนปลอดบุหรี่” ร่วมเป็นคณะทำงาน
- คะแนน
2.2 การดำเนินงาน
1) มีการสำรวจสภาพปัญหาการสูบบุหรี่ในโรงเรียน
  1. มีเครื่องมือในการสำรวจ
  2. มีรายงานสรุปผลการสำรวจ
  3. มีการเผยแพร่ผลการสำรวจให้ครูและบุคลากรรับทราบ
- คะแนน
2) มี “กิจกรรมเพื่อโรงเรียนปลอดบุหรี่” อย่างต่อเนื่อง
จำนวนกิจกรรมที่ดำเนินการใน 1 ภาคเรียน
- คะแนน
2.3 การนิเทศ / ติดตาม / ประเมินผล
  1. มีการประชุมคณะทำงานเพื่อติดตามการดำเนินงานและแก้ไขปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น
  2. สรุปผลการนิเทศ / ติดตาม
  3. การนำผลการนิเทศ / ติดตาม ไปใช้ในการพัฒนาปรับปรุงการดำเนินงาน
  4. มีการประเมินผลการดำเนินงาน
- คะแนน
(คะแนนเต็ม 50 คะแนน) รวมคะแนนที่ได้ = - คะแนน
สรุปผลการประเมินตามองค์ประกอบที่ 2
ผ่านเกณฑ์ประเมินขั้นดีมาก (40-50 คะแนน)
ผ่านเกณฑ์ประเมินขั้นดี (30-39 คะแนน)
ผ่านเกณฑ์ประเมินขั้นพื้นฐาน (20-29 คะแนน)
ควรพัฒนาต่อไป (0-19 คะแนน)
จากการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 2 โรงเรียนอยู่ในระดับ
-

องค์ประกอบที่ 3 การจัดสภาพแวดล้อมเพื่อ “โรงเรียนปลอดบุหรี่”

ตัวบ่งชี้ ตัวชี้วัด เกณฑ์/ระดับการประเมิน (คะแนน) คะแนนที่ได้จากการประเมินตนเอง
1) มีการจัดสภาพแวดล้อมภายในโรงเรียนให้เอื้อต่อการไม่สูบบุหรี่
  1. มีการติด “ป้ายโรงเรียนเป็นเขตปลอดบุหรี่ตามกฎหมาย” ใน “จุดที่เห็นได้เด่นชัด”
  2. มีการติด “สติ๊กเกอร์เพื่อการไม่สูบบุหรี่” ในบริเวณโรงเรียน
  3. มีการปรับเปลี่ยน/เฝ้าระวังมุมอับที่เอื้อต่อการสูบบุหรี่ในโรงเรียน
  4. มีการจัดมุมเรียนรู้เพื่อการไม่สูบบุหรี่
  5. มีการนำเสนอสื่อ/สัญลักษณ์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ไปประกอบในสื่อ/อุปกรณ์/พาหนะ/สถานที่ต่าง ๆ ของโรงเรียน
- คะแนน
2) ความพึงพอใจต่อการจัดสภาพแวดล้อมเพื่อ “โรงเรียนปลอดบุหรี่”
ครูและบุคลากรมีความพึงพอใจต่อการจัดสภาพแวดล้อมเพื่อ “โรงเรียนปลอดบุหรี่” (ถ้ามีการสุ่มสัมภาษณ์หรือสอบถามครูและบุคลากร จำนวน 10 คน จะพึงพอใจเท่าไหร่)
- คะแนน
นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดสภาพแวดล้อมเพื่อ “โรงเรียนปลอดบุหรี่” (ถ้ามีการสุ่มสัมภาษณ์หรือสอบถามนักเรียน จำนวน 10 คน จะพึงพอใจเท่าไหร่)
- คะแนน
ผู้ปกครองมีความพึงพอใจต่อการจัดสภาพแวดล้อมเพื่อ “โรงเรียนปลอดบุหรี่” (ถ้ามีการสุ่มสัมภาษณ์หรือสอบถามผู้ปกครอง จำนวน 10 คน จะพึงพอใจเท่าไหร่)
- คะแนน
(คะแนนเต็ม 40 คะแนน) รวมคะแนนที่ได้ = - คะแนน
สรุปผลการประเมินตามองค์ประกอบที่ 3
ผ่านเกณฑ์ประเมินขั้นดีมาก (36-40 คะแนน)
ผ่านเกณฑ์ประเมินขั้นดี (30-35 คะแนน)
ผ่านเกณฑ์ประเมินขั้นพื้นฐาน (20-29 คะแนน)
ควรพัฒนาต่อไป (0-19 คะแนน)
จากการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 3 โรงเรียนอยู่ในระดับ
-

องค์ประกอบที่ 4 การสอดแทรกในการเรียนการสอนและกิจกรรมนอกหลักสูตร

ตัวบ่งชี้ ตัวชี้วัด เกณฑ์/ระดับการประเมิน (คะแนน) คะแนนที่ได้จากการประเมินตนเอง
1) สอดแทรกเรื่องบุหรี่ในการเรียนการสอนรายวิชาต่างๆ
จำนวนกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่นำเรื่องบุหรี่ไปสอดแทรกในการเรียนการสอน
- คะแนน
2) สอดแทรกเรื่องบุหรี่ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ระดับประถมศึกษา
  1. กิจกรรมแนะแนว
  2. กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี-ยุวกาชาด
  3. กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์
  4. กิจกรรม “กลุ่มสนใจ”
  5. กิจกรรมชุมนุมหรือชมรม
ระดับมัธยมศึกษา (หรือเทียบเท่า)
  1. กิจกรรมศึกษาค้นคว้าอิสระ (IS)
  2. กิจกรรมชุมนุม
  3. กิจกรรมแนะแนว
  4. กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี-ยุวกาชาด
  5. กิจกรรมรักษาดินแดน
- คะแนน
3) สอดแทรกเรื่องบุหรี่ในกิจกรรมนอกหลักสูตร
ระดับประถมศึกษา
  1. กิจกรรมหน้าเสาธง
  2. กิจกรรมประชุมวันสุดสัปดาห์
  3. กิจกรรมวันวิชาการของโรงเรียน
  4. กิจกรรมดนตรี/กีฬา
  5. วันสำคัญทางศาสนา/ประเพณี/วัฒนธรรม
ระดับมัธยมศึกษา (หรือเทียบเท่า)
  1. กิจกรรมปฐมนิเทศ
  2. กิจกรรมโฮมรูม
  3. กิจกรรมประชุมระดับชั้น
  4. กิจกรรมวันวิชาการของโรงเรียน
  5. กิจกรรมดนตรี/กีฬา
  6. วันสำคัญทางศาสนา/ประเพณี/วัฒนธรรม
- คะแนน
4) มีการจัดอบรมให้ความรู้เรื่องบุหรี่กับสุขภาพแก่นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน
จำนวนครั้งที่จัดอบรมใน 1 ภาคเรียน
- คะแนน
5) ผลจากการดำเนินงานสอดแทรกในการเรียนการสอนและกิจกรรมนอกหลักสูตร
จำนวนนักเรียนที่ยืนยันว่าจะไม่สูบบุหรี่ (ถ้ามีการสุ่มสัมภาษณ์หรือสอบถามนักเรียน จำนวน 10 คน ที่ผ่านกิจกรรม นักเรียนตอบว่ายืนยันจำนวนเท่าไหร่)
- คะแนน
(คะแนนเต็ม 50 คะแนน) รวมคะแนนที่ได้ = - คะแนน
สรุปผลการประเมินตามองค์ประกอบที่ 4
ผ่านเกณฑ์ประเมินขั้นดีมาก (40-50 คะแนน)
ผ่านเกณฑ์ประเมินขั้นดี (30-39คะแนน)
ผ่านเกณฑ์ประเมินขั้นพื้นฐาน (20-29 คะแนน)
ควรพัฒนาต่อไป (0-19 คะแนน)
จากการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 4 โรงเรียนอยู่ในระดับ
-

องค์ประกอบที่ 5 การมีส่วนร่วมของนักเรียน

ตัวบ่งชี้ ตัวชี้วัด เกณฑ์/ระดับการประเมิน (คะแนน) คะแนนที่ได้จากการประเมินตนเอง
1) การส่งเสริมให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการดำเนินงานกิจกรรมเพื่อโรงเรียนปลอดบุหรี่
  1. มีนักเรียนร่วมดูแลรักษาสภาพแวดล้อมเพื่อโรงเรียนปลอดบุหรี่
  2. มีนักเรียนเฝ้าระวังการสูบบุหรี่ในโรงเรียน
  3. มีนักเรียนจัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์โรงเรียนปลอดบุหรี่และเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการไม่สูบบุหรี่
  4. มีนักเรียนแกนนำเพื่อโรงเรียนปลอดบุหรี่ที่ผ่านการอบรม
  5. กิจกรรมอื่น ๆ ที่ไม่ซ้ำกับข้อ 1-4
- คะแนน
2) มีความต่อเนื่องในการดำเนินกิจกรรมของนักเรียน
จำนวนครั้งที่มีการดำเนินงานใน 1 ภาคเรียน
- คะแนน
3) ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรม
นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการดำเนินกิจกรรมเพื่อโรงเรียนปลอดบุหรี่ (ถ้ามีการสุ่มสัมภาษณ์หรือสอบถามนักเรียน จำนวน 10 คน จะพึงพอใจเท่าไหร่)
- คะแนน
(คะแนนเต็ม 30 คะแนน) รวมคะแนนที่ได้ = - คะแนน
สรุปผลการประเมินตามองค์ประกอบที่ 5
ผ่านเกณฑ์ประเมินขั้นดีมาก (26-30 คะแนน)
ผ่านเกณฑ์ประเมินขั้นดี (20-25 คะแนน)
ผ่านเกณฑ์ประเมินขั้นพื้นฐาน (10-19 คะแนน)
ควรพัฒนาต่อไป (0-9 คะแนน)
จากการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 5 โรงเรียนอยู่ในระดับ
-

องค์ประกอบที่ 6 การดูแลช่วยเหลือนักเรียนไม่ให้สูบบุหรี่

ตัวบ่งชี้ ตัวชี้วัด เกณฑ์/ระดับการประเมิน (คะแนน) คะแนนที่ได้จากการประเมินตนเอง
1) มีกระบวนการดูแลช่วยเหลือนักเรียนไม่ให้สูบบุหรี่
  1. มีการคัดกรอง “นักเรียนกลุ่มเสี่ยง” และ/หรือ“นักเรียนที่สูบบุหรี่”
  2. มีการประสานความร่วมมือกับผู้ปกครองในการดูแลช่วยเหลือนักเรียนไม่ให้สูบบุหรี่
  3. มีการให้คำแนะนำปรึกษาเพื่อดูแลช่วยเหลือนักเรียนไม่ให้สูบบุหรี่
  4. มีการประสานความร่วมมือกับบุคลากรอื่นในโรงเรียนเพื่อดูแลช่วยเหลือนักเรียนไม่ให้สูบบุหรี่
  5. มีการติดตามผลอย่างต่อเนื่อง
  6. มีการส่งเสริมให้ “นักเรียนกลุ่มเสี่ยง” และ/หรือ“นักเรียนที่สูบบุหรี่” เข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อ “โรงเรียนปลอดบุหรี่”
  7. มีการส่งเสริมให้นักเรียนกลุ่มเสี่ยงเป็นผู้รับผิดชอบ “โครงงานเพื่อโรงเรียน” และ/หรือมีการส่งต่อนักเรียนที่สูบบุหรี่ไปรับการบำบัดรักษา
- คะแนน
2) ผลจากการดำเนินงาน
1.จำนวน “นักเรียนกลุ่มเสี่ยง” และ/หรือ“นักเรียนที่สูบบุหรี่” ที่ยืนยันไม่สูบบุหรี่นับตั้งแต่วันที่สิ้นสุดกระบวนการดูแลช่วยเหลือฯ (ถ้ามีการสัมภาษณ์“นักเรียนกลุ่มเสี่ยง” และ/หรือ“นักเรียนที่สูบบุหรี่” จะมีนักเรียนตอบยืนยันจำนวนเท่าไหร่)
- คะแนน
2.จำนวน“นักเรียนกลุ่มเสี่ยง” และ/หรือ“นักเรียนที่สูบบุหรี่” ที่ไม่มีการสูบบุหรี่เลยภายในระยะเวลาไม่น้อยกว่า 3 เดือนนับตั้งแต่วันที่ได้ยืนยันว่าจะไม่สูบบุหรี่ (ถ้ามีการสัมภาษณ์“นักเรียนกลุ่มเสี่ยง” และ/หรือ“นักเรียนที่สูบบุหรี่” จะตอบยืนยันจำนวนเท่าไหร่)
- คะแนน
3. จำนวนนักเรียนที่รักและเห็นคุณค่าตนเองเพิ่มขึ้น (ถ้ามีการสัมภาษณ์“นักเรียนกลุ่มเสี่ยง” และ/หรือ“นักเรียนที่สูบบุหรี่” จะตอบว่ารักและเห็นคุณค่าตนเองเพิ่มขึ้นจำนวนเท่าไหร่)
- คะแนน
3) ความพึงพอใจต่อการดำเนินงาน
นักเรียนมีความพึงพอใจต่อกระบวนการดูแลช่วยเหลือนักเรียนไม่ให้สูบบุหรี่ (ถ้ามีการสุ่มสัมภาษณ์หรือสอบถามนักเรียนที่เข้าร่วมกระบวนการ จะพึงพอใจจำนวนเท่าไหร่)
- คะแนน
ผู้ปกครองมีความพึงพอใจต่อกระบวนการดูแลช่วยเหลือนักเรียนไม่ให้สูบบุหรี่ (ถ้ามีการสุ่มสัมภาษณ์หรือสอบถามผู้ปกครองของนักเรียนที่เข้าร่วมกระบวนการ จะพึงพอใจจำนวนเท่าไหร่)
- คะแนน
(คะแนนเต็ม 50 คะแนน) รวมคะแนนที่ได้ = - คะแนน
สรุปผลการประเมินตามองค์ประกอบที่ 6
ผ่านเกณฑ์ประเมินขั้นดีมาก (40-50 คะแนน)
ผ่านเกณฑ์ประเมินขั้นดี (30-39 คะแนน)
ผ่านเกณฑ์ประเมินขั้นพื้นฐาน (20-29 คะแนน)
ควรพัฒนาต่อไป (0-19 คะแนน)
จากการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 6 โรงเรียนอยู่ในระดับ
-

องค์ประกอบที่ 7 กิจกรรมร่วมระหว่างโรงเรียนกับชุมชน

ตัวบ่งชี้ ตัวชี้วัด เกณฑ์/ระดับการประเมิน (คะแนน) คะแนนที่ได้จากการประเมินตนเอง
1) โรงเรียนดำเนินกิจกรรมร่วมกับชุมชน
  1. มีกิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้เรื่องการไม่สูบบุหรี่แก่ชุมชน
  2. มีการสอดแทรกเรื่องการไม่สูบบุหรี่ในกิจกรรมของชุมชน
  3. มีการประสานความร่วมมือกับชุมชนในการเฝ้าระวังพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของนักเรียน
  4. มีการประสานความร่วมมือกับชุมชนในการเฝ้าระวังการจำหน่ายบุหรี่ให้นักเรียน
  5. มีกิจกรรมส่งเสริมให้บ้านปลอดบุหรี่
- คะแนน
2) ความพึงพอใจของผู้มีส่วนร่วม
ครูและบุคลากรมีความพึงพอใจต่อการดำเนินกิจกรรมร่วมกับชุมชน (ถ้ามีการสุ่มสัมภาษณ์หรือสอบถามครูและบุคลากร จำนวน 10 คน จะพึงพอใจเท่าไหร่)
- คะแนน
นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการดำเนินกิจกรรมร่วมกับชุมชน (ถ้ามีการสุ่มสัมภาษณ์หรือสอบถามนักเรียน จำนวน 10 คน จะพึงพอใจเท่าไหร่)
- คะแนน
ชุมชนมีความพึงพอใจต่อการดำเนินกิจกรรมร่วมกับโรงเรียน (ถ้ามีการสุ่มสัมภาษณ์หรือสอบถามประชาชนในชุมชน จำนวน 10 คน จะพึงพอใจเท่าไหร่)
- คะแนน
(คะแนนเต็ม 40 คะแนน) รวมคะแนนที่ได้ - คะแนน
สรุปผลการประเมินตามองค์ประกอบที่ 7
ผ่านเกณฑ์ประเมินขั้นดีมาก (36-40 คะแนน)
ผ่านเกณฑ์ประเมินขั้นดี (30-35 คะแนน)
ผ่านเกณฑ์ประเมินขั้นพื้นฐาน (20-29 คะแนน)
ควรพัฒนาต่อไป (0-19 คะแนน)
จากการประเมินตนเองในองค์ประกอบที่ 7 โรงเรียนอยู่ในระดับ
-

แบบสรุปคะแนนรวมของการประเมินตนเอง

  • โรงเรียน :
    -
องค์ประกอบ เรื่อง คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้ ผ่านเกณฑ์ประเมิน
ขั้นดีมาก
ผ่านเกณฑ์ประเมิน
ขั้นดี
ผ่านเกณฑ์ประเมิน
ขั้นพื้นฐาน
ควรพัฒนา
ต่อไป
องค์ประกอบที่ 1 นโยบาย “โรงเรียนปลอดบุหรี่” ของโรงเรียน 40 -
องค์ประกอบที่ 2 การบริหารจัดการในโรงเรียน 50 -
องค์ประกอบที่ 3 การจัดสภาพแวดล้อมเพื่อ “โรงเรียนปลอดบุหรี่” 40 -
องค์ประกอบที่ 4 การสอดแทรกในการเรียนการสอนและกิจกรรมนอกหลักสูตร 50 -
องค์ประกอบที่ 5 การมีส่วนร่วมของนักเรียน 30 -
องค์ประกอบที่ 6 การดูแลช่วยเหลือนักเรียนไม่ให้สูบบุหรี่ 50 -
องค์ประกอบที่ 7 กิจกรรมร่วมระหว่างโรงเรียนกับชุมชน 40 -
คะแนนรวม 300 -

หากท่านต้องการการสนับสนุน ด้านต่าง ๆ ที่ยังมีคะแนนน้อย อาทิ คู่มือ หนังสือ สื่อการสอน สื่อรณรงค์ องค์ความรู้ วิทยากร ฯลฯ โปรดคลิก ดำเนินการต่อ เพื่อส่งข้อมูลการประเมินตนเองครั้งนี้
กลับมายังเครือข่ายครูเพื่อโรงเรียน ปลอดบุหรี่

ข้อมูลโดยย่อของโรงเรียน

  • ชื่อโรงเรียน :
  • สังกัด :
  • ที่อยู่ :
  • จังหวัด :
  • อำเภอ :
  • รหัสไปรษณีย์ :
  • หมายเลขโทรศัพท์ :
  • หมายเลขโทรสาร :
  • ระดับชั้นที่เปิดสอน :
  • จำนวนห้องเรียน :
  • จำนวนนักเรียน :
  • จำนวนผู้บริหารและครู :
  • จำนวนพนักงานราชการ :
  • จำนวนลูกจ้าง :
  • พื้นที่โรงเรียน (โดยประมาณ) จำนวน (ไร่) :

คณะทำงานโรงเรียนปลอดบุหรี่ (แกนนำหลัก 3 คน) ได้แก่

    • ชื่อ-นามสกุล :
    • รายวิชาที่สอน :
    • ฝ่าย/หน้าที่ที่ได้รับมอบหมายในโรงเรียน :
    • หมายเลขโทรศัพท์มือถือ :
    • E-mail :
    • ชื่อ-นามสกุล :
    • รายวิชาที่สอน :
    • ฝ่าย/หน้าที่ที่ได้รับมอบหมายในโรงเรียน :
    • หมายเลขโทรศัพท์มือถือ :
    • E-mail :
    • ชื่อ-นามสกุล :
    • รายวิชาที่สอน :
    • ฝ่าย/หน้าที่ที่ได้รับมอบหมายในโรงเรียน :
    • หมายเลขโทรศัพท์มือถือ :
    • E-mail :

จำนวนบุคลากรภายในโรงเรียนที่สูบบุหรี่

  • ผู้บริหารสถานศึกษา :
  • ครู :
  • นักเรียน :
  • นักการภารโรง :
  • ยาม :
  • พนักงานขับรถ :
  • ผู้ประกอบการร้านค้า :

ข้อมูลโดยสรุป

ข้อมูลโดยย่อของโรงเรียน
  • ชื่อโรงเรียน
    -
  • สังกัด
    -
  • ที่อยู่
    -
  • หมายเลขโทรศัพท์
    -
  • หมายเลขโทรสาร
    -
  • ระดับชั้นที่เปิดสอน
    -
  • จำนวนห้องเรียน
    - ห้อง
  • จำนวนนักเรียน
    - คน
  • จำนวนผู้บริหารและครู
    - คน
  • จำนวนพนักงานราชการ
    - คน
  • จำนวนลูกจ้าง
    - คน
  • พื้นที่โรงเรียน (โดยประมาณ) จำนวน
    - ไร่
คณะทำงานโรงเรียนปลอดบุหรี่ (แกนนำหลัก 3 คน) ได้แก่
  • 1.
    ชื่อ-นามสกุล : -
    รายวิชาที่สอน : -
    ฝ่าย/หน้าที่ที่ได้รับมอบหมายในโรงเรียน : -
    หมายเลขโทรศัพท์มือถือ : -
  • 2.
    ชื่อ-นามสกุล : -
    รายวิชาที่สอน : -
    ฝ่าย/หน้าที่ที่ได้รับมอบหมายในโรงเรียน : -
    หมายเลขโทรศัพท์มือถือ : -
  • 3.
    ชื่อ-นามสกุล : -
    รายวิชาที่สอน : -
    ฝ่าย/หน้าที่ที่ได้รับมอบหมายในโรงเรียน : -
    หมายเลขโทรศัพท์มือถือ : -
จำนวนบุคลากรภายในโรงเรียนที่สูบบุหรี่
  • 1) ผู้บริหารสถานศึกษา
    จำนวน - คน
  • 2) ครู
    จำนวน - คน
  • 3) นักเรียน
    จำนวน - คน
  • 4) นักการภารโรง
    จำนวน - คน
  • 5) ยาม
    จำนวน - คน
  • 6) พนักงานขับรถ
    จำนวน - คน
  • 7) ผู้ประกอบการร้านค้า
    จำนวน - คน